นิยามได้ดังนี้: สำหรับจำนวนจริงใดๆ a, ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วย |a| เท่ากับ a ถ้า a ≥ 0 และเท่ากับ−a ถ้า a < 0 (ดูเพิ่มเติม: อสมการ) |a| จะไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์ อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
นิยามได้ดังนี้: สำหรับจำนวนจริงใดๆ a, ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วย |a| เท่ากับ a ถ้า a ≥ 0 และเท่ากับ−a ถ้า a < 0 (ดูเพิ่มเติม: อสมการ) |a| จะไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์ อ่านเพิ่มเติม
การไม่เท่ากัน
การเท่ากันในระบบจำนวนจริงมีสมบัติพื้นฐาน ดังนี้
1. สมบัติการสะท้อนถ้า a เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว a = a เช่น 3 = 3
สมบัติของจำนวนจริง
สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง
| |
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
| |
1. สมบัติการสะท้อน a = a
| |
2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a
| |
3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
| |
4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่ อ่านเพิ่มเติม
|
จำนวนจริง
มีหลักเกณฑ์ในการแบ่งจำนวนจริงอยู่หลายเกณฑ์ เช่น จำนวนตรรกยะ หรือ จำนวนอตรรกยะ; จำนวนพีชคณิต (algebraic number) หรือ จำนวนอดิศัย; และ จำนวนบวก จำนวนลบ หรือ ศูนย์
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning ) เป็นการนำสิ่งที่ยอมรับว่าเป็นจริงมาประกอบเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปจากสิ่งที่ยอมรับแล้ว
- การสรุปที่สมเหตุสมผล (Valid) คือ ข้ออ้างหรือเหตุที่เป็นจริงเป็นผลให้ อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
1การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เป็นการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกต หรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป ซึ่งข้อสรุปที่ไม่จำเป็นต้อง อ่านเพิ่มเติม
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต
1. | ยูเนียน (Union) | ยูเนียนของเซต A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A หรือ B เขียนแทนด้วย A ![]() |
2. | อินเตอร์เซคชัน (Intersection) | อินเตอร์เซคชันของเซต A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A และ B เขียนแทนด้วย A ![]() |
3. | คอมพลีเมนต์ (Complement) |
คอมพลีเมนต์ของเซต A คือเซตที่ประกอบด้วย อ่านเพิ่มเติม
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)